“โฟกัส” ที่แม่นยำเป็นคุณสมบัติแรกที่ลำโพงดีๆ ต้องมี ต่อจากนั้นก็เป็นคุณสมบัติข้อที่สองที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าโฟกัส นั่นคือ “ไดนามิกเร้นจ์” ส่วนคุณสมบัติทางด้าน “ความถี่ตอบสนอง” จะตามมาเป็นลำดับที่สาม ซึ่งโดยส่วนตัวของผมเองแล้ว เหตุผลที่ผมให้ความสำคัญของความถี่ตอบสนองของลำโพงมาเป็นอันดับสามก็เพราะว่าผมมองว่า ถ้าเราเอาคุณสมบัติทางด้านความสามารถในการตอบสนองความถี่เสียงมาเป็นความสำคัญอันดับแรกไม่น่าถูกต้อง เพราะจะทำให้ลำโพงขนาดเล็กทุกคู่ตกโผ “ลำโพงดี” ไปหมด ซึ่งจากข้อเท็จจริงที่พบเจอกันทั่วไป เราพบว่า ลำโพงขนาดใหญ่ที่มีความสามารถตอบสนองความถี่ได้กว้างมากตั้งแต่ทุ้มไปจนถึแหลมสุดเกินหูมนุษย์ได้ยิน หลายๆ คู่ที่ให้เสียงแย่มากก็มี
รองรับลำโพงตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง
เพื่อสำหรับการสั่งซื้อสินค้า ชื่อ
ขอใบเสนอราคา
ใช้เพื่อบันทึกการใช้เว็บไซต์ระหว่างเซสชั่น (คุกกี้นี้ไม่มีข้อมูลส่วนบุคคล)
คุกกี้ประเภทนี้ช่วยในการทำงานของเว็บไซต์ใช้ในการจดจำผู้ใช้บริการ เมื่อกลับมาที่เว็บไซต์ของอีกครั้งจะช่วยในการจัดเนื้อหาที่เหมาะสำหรับผู้ใช้บริการ และจดจำค่าที่ผู้ใช้บริการเลือกได้ หากท่านไม่อนุญาตให้คุกกี้นี้ทำงาน ท่านอาจไม่สามารถใช้งานฟังชั่นบางอย่างในเว็บไซต์ได้
นโยบายความเป็นส่วนตัว
ขอโทษนะครับ เห็นภาพนี้แล้ว รู้สึกสะท้อนย้อนคิด…
We have been making use of cookies to provde the ideal encounter on our website. You will find out more ลำโพงวางขาตั้งรุ่นใหม่ about which cookies we are employing or swap them off in options
เชื่อมต่อระหว่างเอ๊าต์พุตของเพาเวอร์แอมป์ไปที่ขั้วต่อสายลำโพงของ
เมื่อเร่งวอลลุ่มขึ้นไปที่ระดับความดังที่ทำให้สนามเสียงแผ่เต็มห้อง ผมพบว่า ในบางแทรค จะปรากฏอาการแผดเล็กๆ ติดมากับเสียงในย่านกลางและแหลม ซึ่งถ้าฟังอัลบั้มเพลงไฮเอ็นด์จะไม่ค่อยมีอาการนั้น แต่กับเพลงคอมเมอร์เชี่ยลที่บันทึกเสียงไม่ได้ดีนักจะได้ยิน ซึ่งคำถามที่ตามมาก็คือ อาการที่ว่านั้น จะเกิดจากอาการ mismatch ระหว่างภาคปรีฯ ของ
แยกสองชุด ซึ่งคาดว่า น่าจะมีการปรับจูนวงจรเน็ทเวิร์คใหม่ แต่ทางผู้ผลิตไม่ได้ให้ข้อมูลอะไรไว้เกี่ยวกับเรื่องนี้ ตัวขั้วต่อที่ให้มาทำด้วยโลหะชุบทอง นับว่าโชคดีที่ไม่ได้ให้มาเป็นขั้วต่อพลาสติก แม้ว่าตัวขั้วต่อที่ขันยึดสายลำโพงจะไม่ได้ใหญ่โต แต่ก็ยังดีที่เป็นโลหะที่ดูดีกว่าพลาสติกเยอะ
5Hz แม้จะยังไม่ได้ยินเสียงชัดๆ แต่ผมก็รู้สึกได้ว่ามีเสียงครางต่ำๆ ดังขึ้นมาเบาๆ ภายในห้อง พอถึงความถี่ 40Hz เสียงก็เริ่มดังชัดขึ้นๆ เรื่อยๆ เมื่อป้อนความถี่ที่สูงกว่า 40Hz เข้าไปเป็นลำดับ
ตัวขันยึดทำด้วยเกลียวโลหะที่ห่อหุ้มภายนอกด้วยพลาสติกแข็งสีดำด้าน ขนาดใหญ่จับขันได้ง่ายเต็มไม้เต็มมือดี ผู้ใช้สามารถเลือกใช้สายลำโพงได้ทั้งแบบซิงเกิ้ล (คู่เดียว) โดยใช้ลิ้งค์จั๊มเปอร์แท่งโลหะที่แถมมาให้เชื่อมโยงสัญญาณระหว่างขั้วต่อคู่บนกับคู่ล่างเข้าด้วยกัน หรือจะถอดแท่งโลหะลิ้งค์ออก แล้วใช้สายลำโพงแบบไบ-ไวร์ฯ เชื่อมต่อก็ได้